การตลาดเกษตร การตลาดเกษตร ทรัพยากรสารสนเทศด้านการเกษตรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เกี่ยวกับการตลาดเกษตร จำเนียร บุญมาก และคณะ. 2553. การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน :รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ = The development of knowledgement of organic agricuture business for sustainable strength of community entrepreneurs. เชียงใหม่ :มหาวิยาลัยแม่โจ้ จำเนียร บุญมาก. 2559. การพัฒนาขีดความสามารถทรัพยากรมนุษย์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนประเภทการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร จังหวัดเชียงใหม่ =Human resources competency development for strengthening the community enterprises management: a case study of food product processing, Chiang Mai Province. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก. การศึกษารูปแบบการจัดการด้านการตลาดของตลาดทางเลือก :กรณีศึกษาศูนย์สินค้าเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอิ่มบุญ จ.เชียงใหม่ : รายงานวิจัย = The study on marketing management pattern of alternative market case study : the Im-boon center for health and environment, Chiangmai Province. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก, ดลกร ขวัญคำ และ สุมิตร ชัยเขตต์. 2548. การศึกษารูปแบบความต้องการบริโภคลำไยของตลาดเป้าหมาย :รายงานผลการวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ = The study on consumption pattern of longan of the target market.เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก, ศิริกุล ตุลาสมบัติ และประเสริฐ จรรยาสุภาพ. 2552. การเสริมสร้างสมรรถนะทางด้านทรัพยากรบุคคลของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์เพื่อความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน :รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ = The improvement of human resource competency of farmer group doing organic agricultural production for the strength of sustainable community enterprise . เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก, วิยะดา ชัยเวช. 2555. ช่องทางการตลาดลำไยอินทรีย์ภายในประเทศและต่างประเทศ :รายงานผลการวิจัย = Marketing channel of organic longan in domestic and foreign markets. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก, ดลกร ขวัญคำ และสุมิตร ชัยเขตต์.2548. การศึกษาแบบความต้องการบริโภคลำไยของตลาดเป้าหมาย =The study on consumption Pattern of Longan of The Target marker. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก. 2546. การศึกษารูปแบบการจัดการด้านการตลาดของตลาดทางเลือก กรณีศึกษา : ศูนย์สินค้าเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอิ่มบุญ จ.เชียงใหม่ =The study on Marketing management pattern of alternative market case study : the Im-boon center for health and environment. แม่โจ้ปริทัศน์. ปีที่ 4, ฉบับที่ 4 จำเนียร บุญมาก. 2544. ความรู้การตลาดเบื้องต้น สำหรับธุรกิจชุมชน.วารสารแม่โจ้ปริทัศน์. ปีที่ 2, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จำเนียร บุญมาก. 2545. “น้ำพริกลาบล้านนา” จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน สู่มาตรฐานการตลาดสมัยใหม่.แม่โจ้ปริทัศน์. ปีที่ 3, ฉบับที่ 6 จำเนียร บุญมาก. 2545. ลำไย…ใครคือผู้กำหนดราคา? . แม่โจ้ปริทัศน์. ปีที่ 3, ฉบับที่ 3. ดวงนภา สุขะหุต. 2552. ศึกษาสถานะทางการเงินส่วนบุคคล ของเกตรกรผู้ปลูกพริกในตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ :รายงานการวิจัย = A study of personal financinl stus of chilli farmers in sansai district, Chiang Mai province เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. ดวงนภา สุขะหุต และ รัชนียา บังเมฆ. 2553. การศึกษาระบบต้นทุนและบริหารการเงินเพื่อสร้างความมั่นคงทางการเงินให้กับเกษตรกรผู้ปลูกพริกในจังหวัดเชียงใหม่ = A study of cost and financial management systems for financial security of pepper farmers in chaing mai :รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จิรายุ หาญตระกูล.2565. การศึกษาความพร้อมของการดำเนินงานด้านสวัสดิการทางการเงิน สำหรับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ในอำเภอสันทราย แม่ริม แม่แตง และสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 11ฉบับที่ 1 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 11ฉบับที่ 1 ประภาพร กิจดำรงธรรม.2566การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนของการเลี้ยงไก่กระดูกดำ ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 ประภาพร กิจดำรงธรรม. 2560. การศึกษาความเป็นไปได้การเงินของธุรกิจการจําหน่ายข้าวอินทรีย์ กรณีศึกษากลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านดอนเจียง อําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ :รายงานผลการวิจัย = Financial feasibility study of organic rice business: a case study of Donjiang Organic Group, Matang district, Chiangmai province. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประภาพร กิจดำรงธรรม.2559. ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรอินทรีย์ อําเภอสันทราย แม่ริม แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ = Costs and return on organic vegetable production : a case study of Sansai, Mae Rim and Mae Tang , Chiang Mai.เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้. ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์. 2561. การสำรวจการจัดการด้านการเงินของผู้ประกอบการกาแฟอินทรีย์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่.ปาริชาต. ปีที่ 31, ฉบับที่ 1. ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์. 2558. ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจการลงทุนในกลุ่มธุรกิจพืชผักเกษตรอินทรีย์ โดยการใช้ปุ๋ยหมักไส้เดือน. วารสารราชมงคลล้านนา. ปีที่ 3ฉบับที่ 2 ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์.2556. การสร้างความเข็มแข็งแก่ผู้ประกอบการกาแฟอินทรีย์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ :รายงานผลงานวิจัย. เชียงใหม่ :คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์ และพัชรินทร์ สุภาพันธ์. 2559. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกวิธีการจำหน่ายผลผลิตผักของเกษตรกรที่มีการยอมรับเทคโนโลยีการเกษตรดีที่เหมาะสมในจังหวัดเชียงใหม่ = Factors affecting choices of distributed approaches on fresh vegetables of farmers adapting to Good Agricultural Practice (GAP) technology in Chiang Mai Province . เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วิยะดา ชัยเวช. 2552. การจัดการกลุ่มของเกษตรกรลำไยนอกฤดูกาลโดยใช้ วิธีการตัดแต่งกิ่ง ตำบลน้ำดิบ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน :รายงานการวิจัย = Longan farmers group management from off-season longan production by using pruning method at numdib sub-district , pasang district, lamphun province. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วิยะดา ชัยเวช. 2553. ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ต่อการเลือกซื้อผักอินทรีย์ :รายงานการวิจัย = Consumer certitude of selecting organic vegetable in Muang-Chiangmai district. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้. พนมพร เฉลิมวรรณ์. 2559. คุณลักษณะผู้ประกอบการกลุ่มเกษตรกรกาดน้อยเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ =The characteristics of entrepreneur of Maejo University Organic Agriculture Group. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้. พนมพร เฉลิมวรรณ์. 2558. แนวทางการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรกาดน้อยเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ =The managing administration of Maejo University organic agriculture group.เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้. อดิศร สิทธิเวช. 2559. แนวทางการยกระดับราคาผลผลิตข้าวอินทรีย์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ร่วมใจพัฒนา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ :รายงานวิจัย. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยแม่โจ้.